วันอาทิตย์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

วีดีโอ 4

สาขาวิชาชีพเภสัชกรรม

สาขาวิชาชีพเภสัชกรรม
สาขาวิชาชีพเภสัชกรรมพอจำแนกได้ดังนี้:

เภสัชกรคลินิก Clinical pharmacist
เภสัชกรชุมชน Community pharmacist
เภสัชกรโรงพยาบาล Hospital pharmacist
เภสัชกรที่ปรึกษาการใช้ยา Consultant pharmacist
เภสัชกรสุขภาพอนามัยทางบ้าน Home Health pharmacist
เภสัชกรบริหารข้อมูลยา Drug information pharmacist
เภสัชกรสารวัตรยา Regulatory-affairs pharmacist
เภสัชกรอุตสาหกรรม Industrial pharmacist
อาจารย์เภสัชกร Academic pharmacist

หน้าที่ของเภสัชกร

หน้าที่ของเภสัชกร
ส่วนมากเภสัชกรจะพบกับผู้ป่วยในจุดแรกด้วยการสอบถามปัญหาเกี่ยวกับสาธารณะสุขพื้นฐานโดยเฉพาะเกี่ยวกับยา การใช้ยา ผลข้างเคียงของยา ฯลฯ ดังนั้นหน้าที่ของเภสัชกรจึงคอนข้างกว้างซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

1.บริหารงานเกี่ยวกับการใช้ยาในทางคลินิก (clinical medication management)
2.การเฝ้าติดตามสถานการณ์ของโรคเฉพาะ (specialized monitoring) ที่เกี่ยวกับยาและผลของยาทั้งโรคธรรมดาและซับ3.ทบทวนการใช้ยาอย่างละเอียดถี่ถ้วน (reviewing medication regimens)
4.ติดตามการรักษาโรคอย่างต่อเนื่อง (monitoring of treatment regimens)
5.ติดตามดูแลสุขภาพอนามัยทั่วไปของผู้ป่วย (general health monitoring)
6.ปรุงยา (compounding medicines)
7.ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยทั่วไป (general health advice)
8.ให้การศึกษาแก่ผู้ป่วยเป็นการเฉพาะ (specific education) เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคและการรักษาด้วยยา
9.ตรวจสอบเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการจ่ายยา (dispensing medicines)
10.ดูแลจัดเตรียม(provision)ยาที่ไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์(non-prescription medicines)
11.ให้คำปรึกษาและแนะนำผู้ป่วยถึงการใช้ยาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด(optimal use of medicines)
12.แนะนำและรักษาโรคพื้นๆทั่วไป(common ailments)
13.ส่งต่อผู้ป่วยไปยังวิชาชีพสาธารณะสุขอื่นที่ตรงกับโรคของผู้ป่วยมากกว่าถ้าจำเป็น
14.จัดเตรียมปริมาณยา (dosing drugs) ในผู้ป่วยตับและไตล้มเหลว
15.ประเมินผลการเคลื่อนไหวของยาในผู้ป่วย (pharmacokinetic evaluation)
16.ให้การศึกษาแก่แพทย์ (education of physicians) เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้อง
17.ร่วมกับวิชาชีพทางด้ายสาธารณะสุขอื่นในการสั่งยา (prescribing medications) ให้คนไข้ในบางกรณี
18.ดูแล จัดเตรียม จัดหา และรักษาเภสัชภัณฑ์ให้อยู่สภาพพร้อมใช้งาน (pharmaceutical care)

การจดทะเบียนเป็นเภสัชกร

การจดทะเบียนเป็นเภสัชกร
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ยาแก่ประชาชนทั่วไป ประเทศต่าง ๆ จึงได้กำหนดบุคคลที่จะมาเป็นเภสัชกรจะต้องถูกฝึกอบรมมาอย่างถูกต้องและพอเพียงโดยการจดทะเบียน ซึ่งผู้ที่ได้รับการจดทะเบียนจะต้องมีคุณสมบัติและผ่านการสอบ ดังนี้

1.ประเทศไทย ผู้ที่ผ่านการศึกษาเภสัชศาสตร์ และต้องการจะได้รับการจดทะเบียนเป็นเภสัชกร ต้องผ่านการสอบรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม จากสภาเภสัชกรรม ก่อน
2.ประเทศอังกฤษ ผู้ที่ผ่านการศึกษาเภสัชศาสตร์และต้องการจะได้รับการจดทะเบียนเป็นเภสัชกร จะต้องฝึกงานทางด้านเภสัชกรรมอย่างน้อย 1 ปี ก่อนสอบรับใบอนุญาตจากสมาคมเภสัชกรรมอังกฤษ (Royal Pharmaceutical Society of Great Britain)
3.สหรัฐอเมริกา ผู้ที่ผ่านการศึกษาเภสัชศาสตร์และต้องการจะได้รับการจดทะเบียนเป็นเภสัชกร จะต้องการสอบ 2 ด่าน ดังนี้
การสอบแนปเพลกซ์ (North American Pharmacist Licensure Examination-NAPLEX)
การสอบแนบพ์ (National Association of Boards of Pharmacy-NABP)

หลักสูตรการเรียนเภสัชศาสตร์

หลักสูตรการเรียนเภสัชศาสตร์
หลักสูตรมาตรฐานที่ใช้เรียนในคณะเภสัชศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีดังนี้

1.เภสัชภัณฑ์ (Pharmaceutics)
2.เคมีเภสัชภัณฑ์ (Pharmaceutical chemistry) หรือเคมีเวชภัณฑ์ (Medicinal chemistry)
3.เภสัชวิทยา (Pharmacology)
4.จุลชีววิทยา (Microbiology)
5.เคมี (chemistry)
6.ชีวเคมี (Biochemistry)
7.เภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmaceutical Botany)
8.เภสัชวินิจฉัย (Pharmacognosy)
9.เภสัชอุตสาหกรรม (Industrial Pharmacy)
10.สรีรวิทยา (Physiology)
11.กายวิภาคศาสตร์ (anatomy)
12.อาหารเคมี (Foods Science)
13.เภสัชกรรม (Pharmacy)
14.กฎหมายยา (pharmacy law)
15.เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics)
16.ไตวิทยา (nephrology)
17.ตับวิทยา (hepatology)
18.ปฏิบัติการเภสัชกรรม (Pharmacy practice) ประกอบด้วย ปฏิกิริยาระหว่างยา, การติดตามผลการใช้ยา (medicine monitoring) การบริหารการใช้ยา (medication management)
19.บริบาลเภสัชกรรม (Pharmaceutical care)บูรณาการด้านการใช้ยากับผู้ป่วย และดูแลติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด

มหาลัยที่เปิดรับสมัคร คณะ เภสัชศาสตร์

1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "โรงเรียนแพทย์ปรุงยา"[1] ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทยอีกด้วย[2]

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดิมเป็นแผนกปรุงยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้รับการพัฒนาหลักสูตรขึ้นเป็นแผนกอิสระเภสัชกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้ย้ายสังกัดหลายครั้ง ซึ่งภายหลังได้กลับมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้อาคารเภสัชศาสตร์ ในบริเวณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปัจจุบันคือคณะศิลปกรรมศาสตร์) เป็นที่ทำการเรียนการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482 จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2525 ได้ย้ายอาคารมาทำการเรียนการสอน ณ ที่ตั้งปัจจุบัน บริเวณสยามสแควร์ ติดกับคณะทันตแพทยศาสตร์ และคณะสัตวแพทยศาสตร์[2]

ปัจจุบัน คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี, ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยในระดับปริญญาตรีได้เปิดการเรียนการสอนใน 2 หลักสูตรคือ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม และหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ ทั้ง 2 หลักสูตรใช้ระยะเวลาในการศึกษาทั้งสิ้น 6 ปี โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 7 ภาควิชา และยังมีโครงการแลกเปลี่ยนนิสิตกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ อาทิ โครงการแลกเปลี่ยนนิสิตคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ-ชิบะ, โครงการแลกเปลี่ยนคณาจารย์ นักวิจัย และนิสิต คณะเภสัชศาสตร์กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ

2.มหาวิทยาลัยสยาม
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกของมหาวิทยาลัย เอกชนที่เป็นหลักสูตร 6 ปี ได้รับการรับรองหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เปิดดำเนินการรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ครั้งแรก ในภาคการศึกษา 2549

:: ชื่อหลักสูตร เภสัชศาสตร์บัณทิต ( การบริบาลทางเภสัชกรรม ) Doctor of pharmacy
( Pharmaceutical care )

:: ชื่อปริญญา เภสัชศาสตร์บัณฑิต ( การบริบาลทางเภสัชกรรม ) ภ. บ. ( การบริบาลทางเภสัชกรรม ) Doctor of pharmacy ( Pharmaceutical care )Pharm.D. ( Pharm.care )

3.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
4.มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
คณะเภสัชศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 ดำเนินการสอนหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตเพื่อผลิตบัณฑิตทางเภสัชศาสตร์ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศที่ ยังขาดเภสัชกร บัณฑิตคณะเภสัชศาสตร์จะเป็นผู้ที่มีความใฝ่รู้ และใฝ่ศึกษาด้วยตนเอง สามารถแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาวิชาการด้านเภสัชศาสตร์เป็นผู้ที่มีความรอบรู้เรื่องยาในทุกด้าน ได้แก่ การผลิตยา การจ่ายยา ติดตามและแนะนำการใช้ยาการบริหารและการจ่ายยา เป็นต้น สามารถให้บริการแก่สังคมในสายวิชาชีพเภสัชกรรม และการสาธารณาสุขให้มีประสิทธิผลทางด้านสุขภาพ และอนามัยต่อชุมชนทั้งในเมืองและชนบท โดยยึดมั่นในจรรยาแห่งวิชาชีพ มีมนุษย์สัมพันธ์ และเจตคติที่ดีต่อสังคม

หลักสูตรของคณะเภสัชศาสตร์เป็นหลักสูตรปริญญาตรี 5 ปี โดยการศึกษาช่วง 4 ปีแรก จะเป็นรายวิชาจำเป็นพื้นฐานสำหรับวิชาชีพทางเภสัชศาสตร์ ส่วนปีที่ 5 จะเป็นกลุ่มวิชาเลือกในสาขาวิชาต่าง ๆ 3 สาขา คือ สาขาเภสัชผลิตภัณฑ์ สาขาชีวเภสัชศาสตร์ สาขาเภสัชกรรมบริหาร ซึ่งนักศึกษาสามารถเลือกสาขาใดสาขาหนึ่งได้ตามความถนัดอันจะเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนสำเร็จการศึกษาคณะเภสัชศาสตร์มีนโยบายที่จะสนับสนุนนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขด้านการพัฒนาร้านยาเป็นสถานที่บริการสาธารณสุข ชุมชน ที่ประชาชนจะได้รับประโยชน์สูงสุด จึงได้จัดโครงการ “ นักศึกษาเพื่อเภสัชชุมชน ” ขึ้น เพื่อรับทายาทของผู้ประกอบการร้านขายยาเข้าศึกษาในคณะเภสัชศาสตร์โดยไม่ต้องผ่านการสอบข้อเขียน

ในปีการศึกษา 2552 คณะเภสัชศาสตร์เปลี่ยนหลักสูตรปริญญาตรีเป็นหลักสูตร 6 ปี คือ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.) และเปิดสอนในระดับปริญญาโทอีก 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

5.มหาวิทยาลัยมหิดล
6.มหาวิทยาลัยขอนแก่น
7.มหาวิทยาลัยบูรพา
8.มหาวิทยาลัยศิลปกร
และมหาลัย อื่นๆ อิกมากมาย ยยยย

อาชี พที่ใฝ่ฝัน นน คือ เภสั ชก ร^^"

เภสัชกร
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เภสัชกร (อังกฤษ: Pharmacists) คือผู้ที่มีวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข (health profession) มีหน้าที่จ่ายยา ให้ผู้ป่วย และเป็นผู้ผลิตยา เภสัชกรจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหลายสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นทางด้านคลินิก โรงพยาบาล และเภสัชชุมชนซึ่งจะต้องเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ทางเลือกหนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรคือการปฏิบัติงานในร้านขายยาซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของร้านเอง (small business) ในงานด้านนี้เภสัชกรนอกจากจะมีความชำนาญในธุรกิจร้านค้าแล้วยังมีความรู้และข้อมูลการใช้ยาทั้งประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา ตลอดจนการให้ข้อมูลความรู้ให้คำปรึกษาการใช้ยาแก่ชุมชนด้วย เภสัชกรบางครั้งเรียกว่านักเคมี เพราะในอดีตมีการให้ผู้สำเร็จการศึกษาในวิชาเคมีสาขาเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemistry (PhC)) มาเป็นเภสัชกรซึ่งเรียกกันว่านักเคมีเภสัชกรรม ("Pharmaceutical Chemists") โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ เช่น เครือข่ายร้านขายยาของบู๊ตส์เรียกเภสัชกรของบู๊ตส์ว่า "นักเคมีบูตส์" ('Boots The Chemist')

คุณสมบัติของเภสัชกร
1.สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปในสาขาเภสัชศาสตร์

2.มีสุขภาพกายและจิตดี ไม่พิการ ไม่ตาบอดสี มีมนุษย์สัมพันธ์ มีความเป็นผู้นำเพราะอาจทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยเฉพาะในงานการผลิต มีบุคลิกภาพดี

3.รักในอาชีพ มีความรับผิดชอบสูง

4.มีความสนใจในวิชาวิทยาศาสคร์ เคมีชีววิทยา และสอบได้คะแนนดีในวิชาเหล่านี้

5.ชอบค้นคว้า ทดลอง ใช้ปัญญาในการวิเคราะห์

6.ละเอียด รอบคอบ ช่างสังเกต

7.มีความซื่อสัตย์

8.ชอบการท่องจำ เพราะต้องจำชนิด ส่วนประกอบของยา ชื่อยาและชื่อสารเคมีในการรักษาโรค ชื่อและประโยชน์ของต้นไม้ที่มียา

ความต้องการขั้นพื้นฐานสำหรับการจดทะเบียน (registration) เป็นเภสัชกรรับอนุญาตจะต้องเป็น ผู้ที่เรียนจบจากคณะเภสัชศาสตร์ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ซึ่งจะได้รับปริญญาดังนี้

เภสัชศาสตรบัณฑิต(ภบ) (Bachelor of Pharmacy (BPharm))
เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต(ภม) (Master of Pharmacy (MPharm))
เภสัชบริบาลศาสตรบัณฑิต (ภบ.บ.) หรือ เภสัชศาสตรบัณฑิต(ภบ) (บริบาลเภสัชกรรม) (Doctor of Pharmacy (PharmD))
ระยะเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษาจแตกต่างในแต่ละประเทศดังนี้

1.ประเทศไทยใช้เวลา 5 ปี ได้ ภบ (BPharm) หรือเรียน 6 ปี ได้ ภบบ (PharmD)
2.สหภาพยุโรป (European Union) รวมถึงสหราชอาณาจักร เดิมเรียน 4 ปีได้ ภบ (BPharm) ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วยเรียน 4 ปี ได้ ภม (MPharm) เลย
3.ประเทศออสเตรเลียใช้เวลา 4 ปี ได้ ภบ (BPharm) ต่ออีก 2 ปีได้ ภม (MPharm)
4.สหรัฐอเมริกาใช้เวลา 4 ปี ได้ ภบ (BPharm) ต่ออีก 2 ปีได้ ภบบ (PharmD) มีฐานะเทียบเท่า พบ (medical doctor (MD))
[แก้] หลักสูตรการเรียนเภสัชศาสตร์
หลักสูตรมาตรฐานที่ใช้เรียนในคณะเภสัชศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีดังนี้

1.เภสัชภัณฑ์ (Pharmaceutics)
2.เคมีเภสัชภัณฑ์ (Pharmaceutical chemistry) หรือเคมีเวชภัณฑ์ (Medicinal chemistry)
3.เภสัชวิทยา (Pharmacology)
4.จุลชีววิทยา (Microbiology)
5.เคมี (chemistry)
6.ชีวเคมี (Biochemistry)
7.เภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmaceutical Botany)
8.เภสัชวินิจฉัย (Pharmacognosy)
9.เภสัชอุตสาหกรรม (Industrial Pharmacy)
10.สรีรวิทยา (Physiology)
11.กายวิภาคศาสตร์ (anatomy)
12.อาหารเคมี (Foods Science)
13.เภสัชกรรม (Pharmacy)
14.กฎหมายยา (pharmacy law)
15.เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics)
16.ไตวิทยา (nephrology)
17.ตับวิทยา (hepatology)
18.ปฏิบัติการเภสัชกรรม (Pharmacy practice) ประกอบด้วย ปฏิกิริยาระหว่างยา, การติดตามผลการใช้ยา (medicine monitoring) การบริหารการใช้ยา (medication management)
19.บริบาลเภสัชกรรม (Pharmaceutical care)บูรณาการด้านการใช้ยากับผู้ป่วย และดูแลติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
[แก้] การจดทะเบียนเป็นเภสัชกร
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ยาแก่ประชาชนทั่วไป ประเทศต่าง ๆ จึงได้กำหนดบุคคลที่จะมาเป็นเภสัชกรจะต้องถูกฝึกอบรมมาอย่างถูกต้องและพอเพียงโดยการจดทะเบียน ซึ่งผู้ที่ได้รับการจดทะเบียนจะต้องมีคุณสมบัติและผ่านการสอบ ดังนี้

1.ประเทศไทย ผู้ที่ผ่านการศึกษาเภสัชศาสตร์ และต้องการจะได้รับการจดทะเบียนเป็นเภสัชกร ต้องผ่านการสอบรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม จากสภาเภสัชกรรม ก่อน
2.ประเทศอังกฤษ ผู้ที่ผ่านการศึกษาเภสัชศาสตร์และต้องการจะได้รับการจดทะเบียนเป็นเภสัชกร จะต้องฝึกงานทางด้านเภสัชกรรมอย่างน้อย 1 ปี ก่อนสอบรับใบอนุญาตจากสมาคมเภสัชกรรมอังกฤษ (Royal Pharmaceutical Society of Great Britain)
3.สหรัฐอเมริกา ผู้ที่ผ่านการศึกษาเภสัชศาสตร์และต้องการจะได้รับการจดทะเบียนเป็นเภสัชกร จะต้องการสอบ 2 ด่าน ดังนี้
การสอบแนปเพลกซ์ (North American Pharmacist Licensure Examination-NAPLEX)
การสอบแนบพ์ (National Association of Boards of Pharmacy-NABP)
[แก้] หน้าที่ของเภสัชกร
ส่วนมากเภสัชกรจะพบกับผู้ป่วยในจุดแรกด้วยการสอบถามปัญหาเกี่ยวกับสาธารณะสุขพื้นฐานโดยเฉพาะเกี่ยวกับยา การใช้ยา ผลข้างเคียงของยา ฯลฯ ดังนั้นหน้าที่ของเภสัชกรจึงคอนข้างกว้างซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

1.บริหารงานเกี่ยวกับการใช้ยาในทางคลินิก (clinical medication management)
2.การเฝ้าติดตามสถานการณ์ของโรคเฉพาะ (specialized monitoring) ที่เกี่ยวกับยาและผลของยาทั้งโรคธรรมดาและซับซ้อน
3.ทบทวนการใช้ยาอย่างละเอียดถี่ถ้วน (reviewing medication regimens)
4.ติดตามการรักษาโรคอย่างต่อเนื่อง (monitoring of treatment regimens)
5.ติดตามดูแลสุขภาพอนามัยทั่วไปของผู้ป่วย (general health monitoring)
6.ปรุงยา (compounding medicines)
7.ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยทั่วไป (general health advice)
8.ให้การศึกษาแก่ผู้ป่วยเป็นการเฉพาะ (specific education) เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคและการรักษาด้วยยา
9.ตรวจสอบเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการจ่ายยา (dispensing medicines)
10.ดูแลจัดเตรียม(provision)ยาที่ไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์(non-prescription medicines)
11.ให้คำปรึกษาและแนะนำผู้ป่วยถึงการใช้ยาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด(optimal use of medicines)
12.แนะนำและรักษาโรคพื้นๆทั่วไป(common ailments)
13.ส่งต่อผู้ป่วยไปยังวิชาชีพสาธารณะสุขอื่นที่ตรงกับโรคของผู้ป่วยมากกว่าถ้าจำเป็น
14.จัดเตรียมปริมาณยา (dosing drugs) ในผู้ป่วยตับและไตล้มเหลว
15.ประเมินผลการเคลื่อนไหวของยาในผู้ป่วย (pharmacokinetic evaluation)
16.ให้การศึกษาแก่แพทย์ (education of physicians) เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้อง
17.ร่วมกับวิชาชีพทางด้ายสาธารณะสุขอื่นในการสั่งยา (prescribing medications) ให้คนไข้ในบางกรณี
18.ดูแล จัดเตรียม จัดหา และรักษาเภสัชภัณฑ์ให้อยู่สภาพพร้อมใช้งาน (pharmaceutical care)
[แก้] สาขาวิชาชีพเภสัชกรรม
สาขาวิชาชีพเภสัชกรรมพอจำแนกได้ดังนี้:

เภสัชกรคลินิก Clinical pharmacist
เภสัชกรชุมชน Community pharmacist
เภสัชกรโรงพยาบาล Hospital pharmacist
เภสัชกรที่ปรึกษาการใช้ยา Consultant pharmacist
เภสัชกรสุขภาพอนามัยทางบ้าน Home Health pharmacist
เภสัชกรบริหารข้อมูลยา Drug information pharmacist
เภสัชกรสารวัตรยา Regulatory-affairs pharmacist
เภสัชกรอุตสาหกรรม Industrial pharmacist
อาจารย์เภสัชกร Academic pharmacist

คุณสมบัติของการ เป็น เภสัชกร

คุณสมบัติของเภสัชกร
1.สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปในสาขาเภสัชศาสตร์

2.มีสุขภาพกายและจิตดี ไม่พิการ ไม่ตาบอดสี มีมนุษย์สัมพันธ์ มีความเป็นผู้นำเพราะอาจทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยเฉพาะในงานการผลิต มีบุคลิกภาพดี

3.รักในอาชีพ มีความรับผิดชอบสูง

4.มีความสนใจในวิชาวิทยาศาสคร์ เคมีชีววิทยา และสอบได้คะแนนดีในวิชาเหล่านี้

5.ชอบค้นคว้า ทดลอง ใช้ปัญญาในการวิเคราะห์

6.ละเอียด รอบคอบ ช่างสังเกต

7.มีความซื่อสัตย์

8.ชอบการท่องจำ เพราะต้องจำชนิด ส่วนประกอบของยา ชื่อยาและชื่อสารเคมีในการรักษาโรค ชื่อและประโยชน์ของต้นไม้ที่มียา

ความต้องการขั้นพื้นฐานสำหรับการจดทะเบียน (registration) เป็นเภสัชกรรับอนุญาตจะต้องเป็น ผู้ที่เรียนจบจากคณะเภสัชศาสตร์ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ซึ่งจะได้รับปริญญาดังนี้

เภสัชศาสตรบัณฑิต(ภบ) (Bachelor of Pharmacy (BPharm))
เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต(ภม) (Master of Pharmacy (MPharm))
เภสัชบริบาลศาสตรบัณฑิต (ภบ.บ.) หรือ เภสัชศาสตรบัณฑิต(ภบ) (บริบาลเภสัชกรรม) (Doctor of Pharmacy (PharmD))
ระยะเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษาจแตกต่างในแต่ละประเทศดังนี้

1.ประเทศไทยใช้เวลา 5 ปี ได้ ภบ (BPharm) หรือเรียน 6 ปี ได้ ภบบ (PharmD)
2.สหภาพยุโรป (European Union) รวมถึงสหราชอาณาจักร เดิมเรียน 4 ปีได้ ภบ (BPharm) ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วยเรียน 4 ปี ได้ ภม (MPharm) เลย
3.ประเทศออสเตรเลียใช้เวลา 4 ปี ได้ ภบ (BPharm) ต่ออีก 2 ปีได้ ภม (MPharm)
4.สหรัฐอเมริกาใช้เวลา 4 ปี ได้ ภบ (BPharm) ต่ออีก 2 ปีได้ ภบบ (PharmD) มีฐานะเทียบเท่า พบ (medical doctor (MD))

เภสั ชกร ^^"

เภสัชกร (อังกฤษ: Pharmacists) คือผู้ที่มีวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข (health profession) มีหน้าที่จ่ายยา ให้ผู้ป่วย และเป็นผู้ผลิตยา เภสัชกรจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหลายสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นทางด้านคลินิก โรงพยาบาล และเภสัชชุมชนซึ่งจะต้องเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ทางเลือกหนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรคือการปฏิบัติงานในร้านขายยาซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของร้านเอง (small business) ในงานด้านนี้เภสัชกรนอกจากจะมีความชำนาญในธุรกิจร้านค้าแล้วยังมีความรู้และข้อมูลการใช้ยาทั้งประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา ตลอดจนการให้ข้อมูลความรู้ให้คำปรึกษาการใช้ยาแก่ชุมชนด้วย เภสัชกรบางครั้งเรียกว่านักเคมี เพราะในอดีตมีการให้ผู้สำเร็จการศึกษาในวิชาเคมีสาขาเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemistry (PhC)) มาเป็นเภสัชกรซึ่งเรียกกันว่านักเคมีเภสัชกรรม ("Pharmaceutical Chemists") โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ เช่น เครือข่ายร้านขายยาของบู๊ตส์เรียกเภสัชกรของบู๊ตส์ว่า "นักเคมีบูตส์" ('Boots The Chemist')